บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ปัญหาทั่วๆ ไปในอาคารบ้านเรือน เรื่อง ความชื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับปัญหาๆ หนึ่งที่พวกเราหลายๆ คนอาจจะพบเจอได้ทั่วๆ ไปในอาคารบ้านเรือนของพวกเราเอง โดยเฉพาะในอาคารที่มีอายุการใช้งานของอาคารนั้นๆ นานมากๆ แล้วซึ่งปัญหาปัญหานี้อาจจะดูเป็นปัญหาเล็กๆ แต่จริงๆ แล้วไม่เล็กเลยและอาจจะเป็นปัญหาซึ่งนำมาซึ่งผลพวงของปัญหาอื่นๆ ที่มีความหนักหน่วงมากกว่าตามมาอีกอย่างมากมายด้วย นั่นก็คือปัญหาเรื่อง ความชื้น นั่นเองนะครับ   … Read More

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” การคำนวณหาค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนกับเพื่อนๆ ไปว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยกตัวอย่างถึงเรื่องการคำนวณเกี่ยวกับเรื่องค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ หรือ EULER’S CRITICAL COMPRESSION LOAD หรือ ที่พวกเรานิยมเรียกชื่อนี้ว่า Pcr ซึ่งจริงๆ แล้วหากเพื่อนๆ … Read More

การวิบัติแบบ PROGRESSIVE COLLAPSE

ref :  https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1303325296380259   สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน วันนี้หัวข้อที่เราจะมาพูดคุยกันจะเกี่ยวข้องกับเรื่อง PROGRESSIVE COLLAPSE นะครับ การวิบัติแบบ PROGRESSIVE COLLAPSE หรือ บางครั้งเรานิยมเรียกว่าการวิบัติแบบ PANCAKE MECHANISM หรือ กลไลขนมชั้น ก็คือ การวิบัติแบบต่อเนื่องเป็นลูกโซ่นั่นเอง … Read More

การคำนวณเพื่อการตรวจสอบค่าแรงเฉือนทะลุ (PUNCHING SHEAR)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนวิศวกรที่เคยสอบถามผมมาหลังไมค์ก่อนหน้านี้ว่า “เหตุใดก่อนหน้านี้ตอนที่ผมทำการอธิบายว่าในตรวจสอบค่าแรงเฉือนทะลุ (PUNCHING SHEAR) ผมจึงได้ทำการระบุว่าให้ใช้สมการในการคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังแรงเฉือนทะลุโดยคอนกรีตเท่ากับ 1.06 ϕ √fc’ bo d เพียงสมการเดียว เพราะ เหมือนตอนที่เพื่อนท่านนี้เรียนมาจะจำได้ว่า มีหลายสมการในการตรวจสอบมากๆ รบกวนผมช่วยอธิบายประเด็นนี้หน่อยได้หรือไม่ครับ ?” ขอปรบมือรัวๆ ให้กับคำถามข้อนี้เลยนะครับ เป็นคำถามที่ดีมากๆ … Read More

1 51 52 53 54 55 56 57 175