บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ขั้นตอนการออกแบบฐานรากเดี่ยวแบบแผ่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมอยากที่จะมาขอต่อการแชร์ความรู้ในเรื่องของฐานรากแบบแผ่ให้จบต่อเนื่องจากหลายๆ ครั้งที่ผมได่โพสต์ไปก่อนหน้านี่้นะครับ โดยในวันนี่้ผมอยากที่จะมาสรุปขั้นตอนการออกแบบฐานรากเดี่ยวแบบแผ่ให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบและทำความเข้าใจกันพอสังเขปนะครับ (1) เลือกความลึกของฐานราก: โดยความหนาน้อยที่สุดสำหรับฐานรากแผ่ก็คือ 15 CM นับจากเหล็กเสริม และ ความหนาน้อยที่สุดในทางปฏิบัติก็คือ 30 CM โดยที่ระยะหุ้มของคอนกรีตจะต้องมีค่าไม่น้อยกว่า 8 CM ถ้าหากทำการหล่อคอนกรีตบนดินโดยตรง … Read More

คอนกรีตทนน้ำเค็ม

คอนกรีตทนน้ำเค็ม คุณสมบัติ ในน้ำเค็มจะมีสารประกอบหลักที่สำคัญคือคลอไรด์ โดยทั่วไปจะประกอบไปด้วยโซเดียมคลอไรด์ แมกนีเซียมคลอไรด์ แคลเซียมคลอไรด์ ดังนั้น ในการออกแบบคอนกรีตทนน้ำเค็ม จึงอาศัยหลักการป้องกันการซึมผ่านของสารครอไรด์ และการจับยึด ไม่ให้คลอไรด์เข้าไปทำปฏิกิริยากับเหล็กเสริมจนเป็นสนิม โดยทั่วไป สามารถแบ่งสภาพแวดล้อม การสัมผัสกับบรรยากาศทะเล ของโครงสร้างคอนกรีตได้สี่สภาวะดังนี้ + สภาวะที่ 1 โครงสร้างสัมผัสกับไอทะเล + … Read More

ประเภทของจุดต่อภายในโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อวันเสาร์และอาทิตย์ที่ผ่านมาผมได้ทำการตั้งคำถามประจำสัปดาห์เกี่ยวกับเรื่อง จุดต่อที่จะถ่ายแรงดัดและจุดต่อแบบกึ่งถ่ายแรงดัด ซึ่งก็มีแฟนเพจหลายๆ ท่านได้ให้ความสนใจไปมากพอสมควร ซึ่งในโพสต์ของวันอาทิตย์ที่ผมได้ทำการเฉลยคำถามก็มีแฟนเพจซึ่งเป็นคุณผู้หญิงท่านหนึ่งได้มาคอมเม้นต์ใต้โพสต์โดยที่มีใจความว่า “จากที่ผมได้ทำการอธิบายไปแสดงว่าเจ้า CONTINUITY PLATE นั้นถือได้ว่ามีความสำคัญอย่างมากกับโครงสร้างแบบนี้ใช่หรือไม่คะอาจารย์ (คือจำเป็นต้องมี) ?” ซึ่งผมก็ได้ตอบไปว่า … Read More

การรับแรงกระทำตามแนวแกนร่วมกันกับแรงดัดในโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หลังจากที่ในสัปดาห์ที่แล้วผมพูดจบไปแล้วถึง วิธีในการคำนวณหาค่าNORMAL FORCE STIFFNESS หรือ AXIAL STIFFNESS หรือ ซึ่งเราอาจจะแทนค่าๆ นี้ด้วยค่า … Read More

1 2 3 4 5 6 7 175