บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

สร้างบ้านใหม่ 2 ชั้น ในซอยแคบๆ ใช้เสาเข็มขนาดไหนดีครับ?

  สร้างบ้านใหม่ 2 ชั้น ในซอยแคบๆ ใช้เสาเข็มขนาดไหนดีครับ? วันนี้ Mr.SpunMan มีคำแนะนำครับ ด้วยคุณสมบัติ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ที่มีความยาว 1.5 เมตร สามารถบรรทุกบน รถกระบะ เข้าไปในซอย และใช้ปั้นจั่นย่อส่วนตอก ดังนั้นขนาดเสาเข็มที่เหมาะกับ “บ้านพักอาศัยที่มี … Read More

ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มมีผลต่อการคำนวณหาระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ประเด็นที่ผมจะขออนุญาตหยิบยกนำเอามาพูดในวันนี้ก็คือสำหรับในกรณีของฐานรากที่มีการถ่ายน้ำหนักลงไปสู่ดินโดยการใช้โครงสร้างเสาเข็มนั้นถึงแม้ว่าเมื่อในสัปดาห์ก่อนที่ผมได้ให้คำอธิบายและทำการสรุปกับเพื่อนๆ ว่า ในเรื่องของระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดนั้นจะไม่ได้ขึ้นอยู่กับขนาดของตัวโครงสร้างเสาเข็มเหมือนกับกรณีที่เรากำลังพิจารณาในเรื่องระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มน้อยที่สุดแต่จะไปขึ้นอยู่กับอัตราส่วนระหว่างระยะความห่างต่อระยะความหนาแทน แต่ ก็ใช่ว่าขนาดของตัวโครงสร้างเสาเข็มนั้นจะถูกตัดออกไปโดยไม่ถูกนำเอามาพิจารณาใช้ในการคำนวณหาค่าของระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มมากที่สุดเสียทีเดียว เพราะเหตุใดผมจึงกล่าวเช่นนั้นครับ ?   หากเพื่อนๆ จำได้ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมโครงสร้างต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายถึงเรื่องการคำนวณหา STIFFNESS MATRIX ของโครงสร้างต่อเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้ว ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นพื้นฐานให้แก่เพื่อนๆ เวลาที่ผมพาทำการแก้ปัญหาในการวิเคราะห์โครงสร้างของอาคารเมื่ออยู่อาคารนั้นๆ ตกอยู่ภายใต้แรงกระทำแบบพลศาสตร์นะครับ   โดยในครั้งที่แล้วผมได้อธิบายจบไปแล้วถึงเรื่องที่มาที่ไปของ STIFFNESS MATRIX ของ BEAM ELEMENT … Read More

MODULAR RATIO หรือค่า n

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน วันนี้ผมมีคำหนึ่งคำจะมาอธิบายให้เพื่อนๆ ได้เข้าใจกันนะครับ ซึ่งผมเชื่อเหลือเกินว่าเพื่อนหลายๆ ท่านคงจะรู้จักและอาจทราบความหมายและความสำคัญของคำๆ นี้กันดีอยู่แล้วครับ คำๆ นี้คือ MODULAR RATIO หรือค่า n นั่นเองครับ เราจะพบค่าๆ นี้ในวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาทางด้านงานกลศาสตร์และการออกแบบ เช่น กลศาสตร์ของวัสดุ การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก การออกแบบโครงสร้างเหล็ก … Read More

1 158 159 160 161 162 163 164 175