โครงสร้างเหล็กแผ่นที่ทำหน้าที่ในการรับโครงสร้างเสาเหล็ก
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้ผมบังเอิญไปพบเจอรูปภาพการวิบัติของโครงสร้างที่ได้มีการโพสต์ลงในเฟซบุ๊คของท่านอาจารย์ ชูเลิศ จิตเจือจุน ซึ่งท่านถือได้ว่าเป็นหนึ่งในวิศวกรผู้มีความเชี่ยวชาญชำนาญในการทำงานการซ่อมแซมโครงสร้างที่เกิดความเสียหายเนื่องจากสาเหตุต่างๆ ที่ผมต้องขอยกย่องว่าท่านเป็นผู้มีความชำนาญในงานทางด้านนี้มากๆ ท่านหนึ่งของประเทศไทยเลยนะครับ ซึ่งจากรูปที่ท่านโพสต์ไปบังเอิญว่าไปมีความเกี่ยวข้องและสอดคล้องกันกับหัวข้อในสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้โพสต์ไปนั่นก็คือ ที่ผมได้เล่าและอธิบายว่า ที่ฐานของโครงสร้างเหล็กแผ่นที่ทำหน้าที่ในการรับโครงสร้างเสาเหล็กนั้น เรามักที่จะทำการกำหนดให้มีการเทช่องว่างข้างล่างนี้ให้เต็มด้วย … Read More
การกำหนดขนาดและทิศทางของด้านกว้างและด้านแคบของ COLUMN
สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าการกำหนดขนาดและทิศทางของด้านกว้างและด้านแคบของ COLUMN นั้นจะมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการรับกำลังของ BEAM และ SUPPORT ในโครงต้านทานโมเมนต์ดัด (MOMENT FRAME) โดยที่การแปรเปลี่ยนของขนาดของเสานี้จส่งผลต่อแรงภายในที่แตกต่างกันมากก็ต่อเมื่อเราทำการกำหนดให้ BOUNDARY CONDITIONS ของ SUPPORT นั้นมีความแข็งแรงมากๆ (RIGID) … Read More
ตอกเสาเข็ม micropile (สปัน) ไมโครไพล์ เสาเข็ม ต่อเติมข้างบ้าน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
ตอกเสาเข็ม micropile (สปัน) ไมโครไพล์ เสาเข็ม ต่อเติมข้างบ้าน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย เพราะว่า เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง เพื่อการระบายดิน สามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย – สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร หรือ … Read More
“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” การทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ในสัปดาห์ที่แล้วว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความเกี่ยวกับเรื่องข้อมูลที่เราจะสามารถตรวจพบและไม่สามารถที่จะตรวจพบได้จากการทำการทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการใส่แรงกระแทกเข้าไปที่ส่วนบนของโครงสร้างเสาเข็ม ซึ่งโพสต์นี้ก็น่าที่จะเป็นโพสต์สุดท้ายเกี่ยวกับการแชร์ความรู้ในการโพสต์รอบนี้แล้วนะครับ ก่อนที่จะเริ่มในเนื้อหาในส่วนนี้ผมอยากจะขอฝากไว้นิสนึงตรงนี้ว่า หลังจากที่ในครั้งที่แล้วที่ผมได้ทำการอธิบายให้เพื่อนๆ ได้ทราบถึงข้อดีและข้อจำกัดของวิธีในการทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการใส่แรงกระแทกเข้าไปที่ส่วนบนของโครงสร้างเสาเข็มไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วเพื่อนๆ ก็น่าจะเห็นได้ว่าจริงๆ แล้วข้อจำกัดของวิธีการทดสอบนี้ก็มีอยู่ค่อนข้างมาก ดังนั้นหากจะเลือกนำเอาวิธีการดังกล่าวนี้มาใช้ในการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มผมก็ขอให้คำแนะนำว่า เพื่อนๆ … Read More