เสาเข็ม SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย BSP ภูมิสยาม เหมาะสำหรับต่อเติมบ้าน เพราะไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
เสาเข็ม SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย BSP ภูมิสยาม เหมาะสำหรับต่อเติมบ้าน เพราะไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย เสาเข็มเราเป็นที่นิยมในการต่อเติม เพราะคุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด … Read More
การวิเคราะห์การสั่นตัวของโครงสร้างฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับเครื่องจักร (VIBRATION ANALYSIS IN MACHINE FOUNDATION)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของน้องวิศวกรออกแบบท่านหนึ่งที่เคยได้สอบถามผมมาหลังไมค์ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับเรื่อง พลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL DYNAMICS) นะครับ นั่นก็คือ น้องวิศวกรท่านนี้อยากที่จะให้ผมช่วยให้คำแนะนำและอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง การวิเคราะห์การสั่นตัวของโครงสร้างฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับเครื่องจักร (VIBRATION ANALYSIS IN MACHINE FOUNDATION) ให้หน่อยนะครับ เอาเป็นว่าผมอยากที่จะให้คำแนะนำน้องวิศวกรท่านนี้แบบนี้ก็แล้วกันนะครับ ในการวิเคราะห์การสั่นตัวของโครงสร้างฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับเครื่องจักรนั้นผมต้องขอบอกก่อนนะครับว่า เรื่องๆ นี้เป็นเรื่องที่ทำความเข้าใจได้อย่างละเอียดแท้จริงได้ค่อนข้างที่จะยากมากๆ … Read More
ประเภทการรับกำลังของเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของภูมิสยาม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อประมาณเดือนเมษายนที่ผ่านมาผมได้ทำการโพสต์บทความในหัวข้อ วิธีในการจำแนกเสาเข็มของเราว่าเป็น เสาเข็ม“รับแรงฝืด” เป็นหลัก หรือ เสาเข็ม “รับแรงแบกทาน” เป็นหลัก และก็ได้มีคำถามๆ ที่ถามเข้ามาจากแฟนเพจท่านหนึ่งซึ่งจะมีความต่อเนื่องจากคำถามข้อดังกล่าวนั้นว่า … Read More
Pcr หรือ CRITICAL LOAD หรือว่า BUCKLING LOAD
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาตอบคำถามน้องวิศวกรท่านเดิมต่อเนื่องจากโพสต์ที่แล้วของผมนะครับ เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่ผมได้กล่าวถึงเรื่อง Pcr หรือ CRITICAL LOAD หรือว่า BUCKLING LOAD ว่าเหตุใดผมถึงได้กล่าวว่าหากทำการจำลองโครงสร้างด้วย PINNED แทนที่จะเป็น SPRING ในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเรา เหตุใดจึงทำให้ค่า Pcr มีค่าสูงกว่าการจำลองในแบบที่สองนะครับ ก่อนอื่นไหนๆ … Read More