ต่อเติมบ้าน ต้องการเสาเข็ม แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด
ต่อเติมบ้าน ต้องการเสาเข็ม แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เพื่อป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติมได้ตรงจุด ต่อเติมบ้าน ต้องการเสาเข็มคุณภาพ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยภูมิสยาม เป็นเสาเข็มที่มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ และมีรูกลมกลวงตรงกลาง จากการ (SPUN=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ในแบบหล่อที่แข็งแรงด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย ทำให้มีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา เสาเข็มได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2524 … Read More
SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. ต่อเติมอาคารขนาดใหญ่
SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. ต่อเติมอาคารขนาดใหญ่ เสาเข็มต่อเติมของเรา เป็นที่นิยมเพราะ คุณภาพมาตรฐานการผลิตเสาเข็มจนได้การรับรอง มาตรฐาน มอก. สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร … Read More
เทคนิคในการวิเคราะห์และแก้ไขงานวิศวกรรมฐานรากเดิม
เทคนิคในการวิเคราะห์และแก้ไขงานวิศวกรรมฐานรากเดิม สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานรากจากงานในอดีตของผมเองให้แก่เพื่อนได้รับทราบกันนะครับ เผื่อว่าจะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ นะครับ ก่อนอื่นเรามาดูรูปประกอบกันก่อนนะครับ ในรูปปัญหาที่ผมไปพบเจอ คือ ฐานรากใช้ระบบ เสาเข็มเหล็ก ร่วมกันกับ เสาเข็มคอนกรีต แถมฐานรากยังเป็นฐานรากลอยอีกด้วย โดยที่เราไม่สามารถทำการตัดหัวเข็มลงไปได้เนื่องจากข้อจำกัดทางด้านงานสถาปัตยกรรมและการทำงานที่หน้างานนะครับ ปล … Read More
หลักการออกแบบโครงสร้างรับแรงแผ่นดินไหว
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินมีโอกาสได้พูดคุยกับเพื่อนชาวต่างชาติเกี่ยวกับเรื่องของแนวคิดในการออกแบบโครงสร้างเหล็กเพื่อใช้ต้านทานแรงกระทำจากแผ่นดินไหวในปัจจุบันและในอนาคตว่าจะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง ? ผมเลยคิดว่าหากจะนำมาแชร์ให้เพื่อนๆ ได้รับทราบด้วย ก็น่าจะเป็นการดีครับ หลักการออกแบบโครงสร้างรับแรงแผ่นดินไหวในปัจจุบันใช้สมมติฐานว่าโครงสร้างมีพฤติกรรมอยู่ในช่วงเชิงเส้น กระบวนการออกแบบเริ่มต้นโดยการหาแรงเฉือนที่ฐานของอาคาร ซึ่งหาได้จากค่าสัมประสิทธิ์ผลตอบสนองแรงแผ่นดินไหว (Cs) และค่าความเร่งตอบสนองเชิงสเปคตรัมสำหรับการออกแบบที่คาบการสั่นพื้นฐานของอาคาร (Sa) โดยมีสมมติฐานที่ว่าโครงสร้างมีพฤติกรรมเป็นเชิงเส้น จากนั้นจึงลดทอนค่าแรงเฉือนด้วยค่าตัวประกอบปรับผลตอบสนอง (R) ที่แปรผันตามค่าความเหนียวของระบบโครงสร้างที่ได้สมมุติไว้ ค่าแรงเฉือนที่ฐานสำหรับการออกแบบนี้จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามระดับความสำคัญในการใช้งานของโครงสร้างอาคาร โดยใช้ตัวประกอบความสำคัญของอาคาร (I) … Read More