บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ปัญหาการนำเอาค่าแรงดัดมาคิดผลของแรงเฉือนทะลุในโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของโครงสร้างฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION ซึ่งจะเป็นการวางตัวโครงสร้างฐานรากลงไปอยู่บนดินโดยตรงเลย โดยต้องถือว่าฐานรากทั้ง 2 … Read More

ตอกเสาเข็ม micropile (สปัน) ไมโครไพล์ เสาเข็ม ต่อเติมข้างบ้าน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย

ตอกเสาเข็ม micropile (สปัน) ไมโครไพล์ เสาเข็ม ต่อเติมข้างบ้าน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย เพราะว่า เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง เพื่อการระบายดิน สามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย – สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร หรือ … Read More

แผนภูมิที่ทำหน้าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าของแรง และ ค่าของการเคลื่อนที่ หรือที่เรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า HYSTERESIS GRAPH

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปเรียนรู้กันต่อถึงเรื่อง แผนภูมิที่ทำหน้าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าของแรง และ ค่าของการเคลื่อนที่ หรือที่เรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า HYSTERESIS GRAPH กันต่อเป็นโพสต์สุดท้ายของช่วงๆ นี้ก่อนที่เราจะขยับไปถึงเรื่องหรือหัวข้ออื่นๆ ต่อไปนะครับ   โดยเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้เล่าให้เพื่อนๆ … Read More

ALIGNMENT CHART เพื่อจุดประสงค์ในการคำนวณหาค่า EFFECTIVE LENGTH FACTOR หรือค่า K

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมานั้นผมได้โพสต์และอธิบายถึงเรื่องวิธีในการคำนวณหาค่า EFFECTIVE LENGTH FACTOR หรือค่า K เมื่อเราต้องทำการออกแบบโครงสร้างเหล็กรับแรงอัดโดยใช้ ALIGNMENT … Read More

1 68 69 70 71 72 73 74 175