บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

วิธีในการคำนวณหาค่า Esoil

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ อย่างที่ผมได้เรียนให้เพื่อนๆ ทุกคนได้ทราบไปตั้งแต่ในสัปดาห์ที่แล้วว่าในสัปดาห์นี้ผมคงจะมีความจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตทำการพูดและรวบรัดให้จบเกี่ยวกับเรื่องวิธีในการคำนวณหาค่า Esoil นี้แล้วเพราะหากว่าผมจะต้องพูดรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ให้ครอบคลุมถึงเนื้อหาทั้งหมดจริงๆ ก็อาจที่จะต้องใช้เวลาเนิ่นนานมากจนเกินไป ยังไงผมก็คงจะขอทำการอธิบายแค่เพียงสังเขป ทั้งนี้เพื่อให้เพื่อนๆ นั้นสามารถที่จะมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องๆ นี้ในระดับหนึ่งและสามารถที่จะนำเอาองค์ความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้งานได้ในเบื้องต้นครับ   … Read More

Puzzle 114

Puzzle 114 สวัสดีค่ะ วันนี้ Miss.Spunpile มีปริศนาหาคำศัพท์ มาให้ลองหากันนะคะ มีทั้งหมด 8 คำดังนี้ค่ะ 1. ภูมิสยาม 2. ปั้นจั่น 3. ต่อเติม 4. สปันไมโครไพล์ 5. ไมโครไพล์ … Read More

ความสามารถในการรับแรงแบกทานของดินตามวิธีการของ TERZAGHI

ความสามารถในการรับแรงแบกทานของดินตามวิธีการของ TERZAGHI สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หากว่าเพื่อนๆ ยังจำกันได้เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนผมเคยนำเอาเรื่องหลักในการคำนวณหาค่ากำลังความสามารถในการรับแรงแบกทานของดินตามวิธีการของ TERZAGHI มาอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน ซึ่งในหัวข้อนั้นเองผมยังได้ทำการพูดถึงประเด็นๆ หนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องและถือได้ว่ามีความสำคัญไม่น้อยในการออกแบบงานวิศวกรรมฐานรากของอาคารนั่นก็คือเรื่อง ระดับของน้ำใต้ดิน ใช่แล้วครับ … Read More

ตัวอย่างของรอยเชื่อมแบบ ดี และ ไม่ดี

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้เคยนำเสนอถึงเนื้อหาต่างๆ เกี่ยวกับปัญหาของการทำงานโครงสร้างเหล็กที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่อง รอยเชื่อม ที่ทั้ง ดี และ ไม่ดี ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนไปแล้วแต่ก็ยังมิวายมีเพื่อนๆ ของผมหลายๆ คนยังอินบ็อกซ์กันเข้ามาสอบถามผมว่า อยากที่จะเห็นตัวอย่างของรอยเชื่อมเหล่านี้ว่าแบบ ดี และ … Read More

1 164 165 166 167 168 169 170 175