การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว
การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ หลังจากที่เมื่อหลายวันก่อนหน้านี้ผมได้เล่าและแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องภัยอันตรายจาก นน … Read More
ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS
ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS ประเภทของโครงถักแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ (1) โครงถักแบบท้องเรียบ (ความลึกเท่ากันตลอดทั้งความยาว) (2) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดมีความลึกที่ปลายด้วย) (3) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดไม่มีความลึกที่ปลายเลย) หากเราให้ L เป็นความยาวช่วงทั้งหมดระหว่างเสาถึงเสาที่รองรับตัวโครงถัก … Read More
เคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล (CHEMICAL ANCHOR STEEL)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ ช่วงบ่ายของเมื่อวานนี้มีเกลอเก่าของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษาผมเกี่ยวกับปัญหาในการทำงานวิศวกรรมฐานรากกับผมว่า ในงานการก่อสร้างโรงงานแห่งหนึ่ง ผู้ออกแบบกำหนดให้ใช้เสาเข็มขนาดความยาว 12 ม/ท่อน แบบ 2 ท่อนต่อกันและเชื่อมรอยต่อ … Read More
คอนกรีตทนน้ำเค็ม
เพราะเหตุใด?? เสาเข็มไมโครไพล์ ของภูมิสยามจึงจะต้องอาศัยกระบวนการในการหล่อคอนกรีตโดยการให้แรงเหวี่ยง หลักการพื้นฐานของการตอกเสาเข็มคือ การทำให้ “พลังงาน” หรือ “ENERGY” แก่โครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการ “ตอก” เสาเข็มลงไปในดิน ซึ่ง “ปริมาณ” ของพลังงานที่จะทำการใส่ลงไปในดินนั้นจะมีค่าที่ มาก หรือ น้อย ก็จะขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัย เช่น … Read More