บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ตอกเสาเข็มต่อเติมบ้าน แนะนำใช้ เสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม)

ตอกเสาเข็มต่อเติมบ้าน แนะนำใช้ เสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) เสาเข็มเราเป็นที่นิยม ต่อเติมบ้าน เพราะคุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ … Read More

การคำนวณวิเคราะห์หาค่ากำลังรับโมเมนต์ดัดระบุของหน้าตัดคาน คสล รูปตัว T คว่ำ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย การคำนวณวิเคราะห์หาค่ากำลังรับโมเมนต์ดัดระบุของหน้าตัดคาน คสล รูปตัว T คว่ำให้เพื่อนๆ ได้รับชมกันนะ โดยที่ผมได้แบ่งกรณีของการยก … Read More

การก่อสร้างใหม่ เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ได้หรือไม่? สามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้จริงหรือ?

การก่อสร้างใหม่ เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ได้หรือไม่? สามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้จริงหรือ? เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่ถูกออกแบบมาให้มีความหนาแน่นสูง จากการผลิตโดยใช้แรงเหวี่ยง (สปัน=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ในแบบหล่อที่แข็งแรง และเสาเข็มมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ เพื่อเพิ่มความหนาแน่นและความแข็งแรงให้กับเสาเข็ม เสาเข็มชนิดนี้เหมาะสำหรับการตอกเพื่อเป็นฐานราก ไม่ว่าจะงานต่อเติม หรืองานสร้างใหม่ โดยภูมิสยาม มีวิศวกรมืออาชีพควบคุมดูแลในเรื่องของการออกแบบฐานราก และในทุกขั้นตอนการตอกเสาเข็ม มีการทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load … Read More

การทรุดตัวของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้ทำการแจ้งกับเพื่อนๆ ไปว่าในสัปดาห์นี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกและนำเอาตัวอย่างของการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มเนื่องจาก CONSOLIDATION SETTLEMENT ในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มกลุ่มให้เพื่อนๆ ได้รับชมกัน ดังนั้นเพื่อเป็นการไม่เสียเวลา เรามาดูรายละเอียดต่างๆ ของปัญหาที่จะใช้เป็นตัวอย่างในวันนี้กันเลยดีกว่านะครับ   ผมมีฐานรากที่จะต้องทำหน้าที่ในการรับน้ำหนักกระทำในแนวดิ่งใช้งานเท่ากับ 200 … Read More

1 149 150 151 152 153 154 155 175