เสาเข็มเกิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากัน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาภาพสเก็ตช์ของปัญหาๆ หนึ่งที่แฟนเพจท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษากับผม ผมจึงคิดว่าน่าที่จะมีประโยชน์เลยนำประเด็นๆ นี้มาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ คนให้ได้รับทราบร่วมกัน นั่นก็คือเรื่อง เสาเข็มเกิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากัน นั่นเองนะครับ เพื่อนๆ คงจะมีความคุ้ยเคยและคงเคยได้ยินประโยคในทำนองที่ว่า “การเลือกใช้ฐานรากเป็น … Read More
ข้อมูลและตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด
ข้อมูลและตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด เริ่มต้นดูรูปที่แสดงตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัดกันก่อนนะครับ หากเพื่อนๆ สังเกตดูดีๆ จะพบว่าช่องที่แสดงค่า ความลึกของหลุมเจาะ ในตารางๆ นี้จะมีความแตกต่างออกไปจากตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล ที่เคยนำมาเล่าให้ฟังก่อนหน้านี้นะครับ โดยที่ในช่องๆ นี้ของตารางที่แสดงนี้จะไมได้แสดงค่าความลึกของหลุมเจาะตรงๆ แต่ กลับแสดงว่าระยะนี้จะมีค่าเท่ากับระยะความลึกที่เมื่อทำการทดสอบ SPT เพื่อที่จะหาค่า N VALUE … Read More
จะต่อเติมบ้าน หรือสร้างอาคารใหม่ แนะนำ ใช้ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก BSP ภูมิสยาม
จะต่อเติมบ้าน หรือสร้างอาคารใหม่ แนะนำ ใช้ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก BSP ภูมิสยาม ที่นิยมเพราะ คุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน … Read More
การเสริมเหล็กรับแรงเฉือนภายในคานประเภทต่างๆ
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากประเด็นเมื่อสองสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการตอบเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งเกี่ยวกับคำถามที่เพื่อนท่านนี้ได้สอบถามผมเข้ามาเกี่ยวกับเรื่องตำแหน่งที่ควรจะวาง TIED BEAM ว่าควรที่จะอยู่ที่บริเวณใดจึงจะเหมาะสมซึ่งผมก็ได้ตอบคำถามข้อนี้ให้ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ปรากฏว่าผมก็ยังได้รับคำถามต่อเนื่องจากคำถามข้อนี้จากเพื่อนวิศวกรท่านเดิมมาอีกว่า “ขอสอบถามเกี่ยวกับเสาที่ตั้งอยู่บริเวณปลายคานในกรณีนี้เหล็กเสริมรับแรงเฉือนจะมีรายละเอียดเหมือนหูช้างไหมครับ (คือใส่เหล็กรับแรงเฉือนตามแนวนอน) ใช่หรือไม่ครับ ?” จริงๆ คำถามข้อนี้เป็นคำถามที่ดี ต้องขอชมเชยคนถามด้วยที่ได้ถามคำถามที่ประโยชน์มากๆ … Read More