การแตกร้าวของคอนกรีต เนื่องจากการหดตัวแบบพลาสติก (PLASTIC SHRINKAGE CRACKING)
การแตกร้าวของถนนนั้นมักจะเกิดขึ้นขณะที่คอนกรีตกำลังแข็งตัวหรือเป็นที่รู้จักกันในเชิงวิชาการคอนกรีตว่า การแตกร้าวเนื่องจากการหดตัวแบบพลาสติก (Plastic Shrinkage Cracking) ซึ่งนอกจากมีโอกาสสูงที่จะเกิดกับงานถนนแล้วยังเกิดกับงานประเภทพื้นที่อยู่กลางแจ้งอื่นได้อีกด้วย อาทิ พื้นนอาคาร, ดาดฟ้าและลานประเภทต่างๆ เป็นต้น การแตกร้าวในลักษณะน้ีจะไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ต่างกับการแตกร้าวเนื่องจากคอนกรีตหดตัวแบบแห้งซึ่งจะเป็นเส้นค่อนข้างตรง และยาว ที่มักจะเกิดข้ึนเมื่อไม่มีการตัดรอยต่อที่ถูกต้อง สาเหตุของการแตกร้าวเนื่องจากการหดตัวแบบพลาสติก การที่คอนกรีตเกิดการแตกร้าวแบบนี้มีสาเหตุมาจากคอนกรีตหดตัวอย่างเฉียบพลันในช่วงที่ยังอยู่ในสภาพยังไม่แข็งตัว (Pre-hardened Stage) ซึ่งคอนกรีตในช่วงนี้แทบจะไม่มีความสามารถในการรับแรงเค้นที่เกิดจากแรงดึง (Tensile … Read More
ต่อเติมบ้าน แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มเพื่อการต่อเติม
ต่อเติมบ้าน แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มเพื่อการต่อเติม ต่อเติมบ้าน แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มขนาดเล็กที่มีความมั่นคงแข็งแรง จากการใช้กรรมวิธีแรงเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ(SPUN)ทำให้มีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อโดยวิธีธรรมดา และปั้นจั่นที่ใช้มีการออกแบบมาเป็นพิเศษ เพื่อใช้สำหรับเสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยความสูงของปั้นจั่นสูงไม่เกิน 3 เมตร เหมาะสำหรับต่อเติมบ้าน ที่มีพื้นที่แคบหรือจำกัด สามารถตอกชิดกำแพงได้ เพราะขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่ทำให้โครงสร้างเดิม … Read More
ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมหลังบ้าน แนะนำ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก.
ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมหลังบ้าน แนะนำ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มาตรฐาน มอก. ด้วยเหตุผล เข้าพื้นที่แคบได้ และ เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย 20-40 ตัน มีหลายขนาด 21, 23, 25, 30 ซม. … Read More
สปันไมโครไพล์ คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่นิยมในการต่อเติม สามารถหาคำตอบได้จาก วีดีโอนี้ครับ
สปันไมโครไพล์ คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่นิยมในการต่อเติม สามารถหาคำตอบได้จาก วีดีโอนี้ครับ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มสภาพชั้นดิน ทดสอบโดย Dynamic Load … Read More