บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

รอยร้าว ที่ไม่อันตราย

รอยร้าว ที่ไม่อันตราย รอยร้าว ทางแนวดิ่ง รอยร้าว ทางแนวนอน รอยร้าว แตกลายงาตามผนัง ก่ออิฐฉาบปูน ของบ้าน และอาคารทั่วไป หากพบที่ผนัง ก็ไม่ต้องกังวล ว่าจะเกิดการทรุดตัวของอาคาร รอยร้าว เหล่านี้ เกิดจาก ผนังอาคาร มีเสาเอ็นน้อยเกินไป มีแรงกดทับ … Read More

เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ หรือสร้างอาคารใหม่

เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ หรือสร้างอาคารใหม่ แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก BSP ภูมิสยาม ครับ เสาเข็มเราเป็นที่นิยมต่อเติม เสริมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ เพราะคุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ … Read More

ต่อเติมบ้าน ป้องกันปัญหาการทรุดตัวของส่วนต่อเติม ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile สามารถเข้าตอกในพื้นที่จำกัดได้

ต่อเติมบ้าน ป้องกันปัญหาการทรุดตัวของส่วนต่อเติม ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile สามารถเข้าตอกในพื้นที่จำกัดได้ ต่อเติมบ้าน ปัญหาที่มักจะเกิดตามมา หากไม่มีการตอกเสาเข็มป้องกันการทรุดตัวของส่วนต่อเติม แก้ปัญหานี้ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และเสาเข็มไอไมโครไพล์ ภูมิสยาม หมดปัญหาเรื่องพื้นที่จำกัด โดยเสาเข็มทุกต้น ของภูมิสยาม เลือกใช้วัสดุที่มีคุณภาพในการผลิต ตอกโดยปั้นจั่นที่ใช้ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ มีความยาวแนวราบ … Read More

ตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะ สำหรับการเจาะสำรวจชั้นดิน ในพื้นที่ต่างจังหวัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในครั้งที่แล้วผมได้นำตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล มาฝากเพื่อนๆ พร้อมกับได้ให้คำอรรถาธิบายไปพอสังเขปแล้ว ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตนำข้อมูลและตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด มาเล่าให้เพื่อนๆ ฟังพร้อมกันกับนำข้อมูลมาถกกันด้วยว่าเพราะเหตุใดข้อมูลจากทั้งสองตารางนี้จึงมีความแตกต่างกันนะครับ ก่อนอื่นผมอยากให้เพื่อนๆ เริ่มต้นดูรูปที่แสดงตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัดกันก่อนนะครับ หากเพื่อนๆ สังเกตดูดีๆ จะพบว่าช่องที่แสดงค่า ความลึกของหลุมเจาะ ในตารางๆ นี้จะมีความแตกต่างออกไปจากตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ … Read More

1 129 130 131 132 133 134 135 175