เสาเข็ม SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) เหมาะสำหรับต่อเติมบ้าน เพราะไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
เสาเข็ม SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) เหมาะสำหรับต่อเติมบ้าน เพราะไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย เสาเข็มเราเป็นที่นิยมในการต่อเติม เพราะคุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด … Read More
“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” แรงเฉือนโดยตรง
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ อย่างที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้เมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้แล้วว่าวันนี้ผมจะมาทำการอธิบายถึงเรื่องวิธีในการคำนวณออกแบบเหล็กเสริมเพื่อใช้ในการต้านทานแรงเฉือนเสียดทานตามที่มาตรฐานการออกแบบได้ทำการระบุเอาไว้ ซึ่งผมก็จะขออ้างอิงไปที่มาตรฐานการออกแบบ EIT-10104-58 และ ACI318 เป็นหลักนะครับ ก่อนอื่นเรามาดูหน้าตาของสมการที่ใช้ในการคำนวณหาพื้นที่หน้าตัดของเหล็กเสริมที่ใช้ในการต้านทานแรงเฉือนเสียดทานที่มาตรฐานการออกแบบได้กำหนดให้ใช้กันก่อน ซึ่งก็จะได้จากการย้ายข้างเพื่อเป็นการแก้สมการEQ.(7) ในการโพสต์ครั้งที่แล้วและก็ทำการเปลี่ยนตัวแปรจากค่า … Read More
การออกแบบหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีต
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวานผมได้โพสต์บทความเรื่องโครงสร้างคอนกรีตล้วนให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน ก็มีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้กระซิบมาหลังไมค์สอบถามผมเกี่ยวกับเรื่องนี้พอดีครับว่า “ในการออกแบบหน้าตัดของโครงสร้างคอนกรีตล้วนนั้นมีวิธีการออกแบบพอสังเขปได้อย่างไร ?” ผมเลยขอคั่นการโพสต์บทความของผมด้วยการแสดง ตย ของการคำนวณโครงสร้างคอนกรีตล้วนให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันก่อนที่เราจะก้าวไปยังหัวข้อถัดไปนะครับ (รูป A) โดยที่ผมทำการสมมติให้ใช้ค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีต ตย ทรงกระบอกขนาดมาตรฐานที่อายุ 28 วัน เท่ากับ 210 … Read More
แผ่นเหล็กที่มีการติดตั้งสลักเกลียวแบบฝังยึด
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายถึงวิธีในการออกแบบ โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ BEAM BEARING PLATE ซึ่งผมได้ขออนุญาตใช้วิธีในการออกแบบตามมาตรฐาน AISC โดย วิธีการหน่วยแรงที่ยอมให้ หรือ ALLOWABLE … Read More