เคมีภัณฑ์สำหรับยึดจับเหล็กเสริมที่ใช้ในงาน คสล (CHEMICAL ANCHOR STEEL)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ ช่วงบ่ายของเมื่อวานนี้มีเกลอเก่าของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษาผมเกี่ยวกับปัญหาในการทำงานวิศวกรรมฐานรากกับผมว่า ในงานการก่อสร้างโรงงานแห่งหนึ่ง ผู้ออกแบบกำหนดให้ใช้เสาเข็มขนาดความยาว 12 ม/ท่อน แบบ 2 ท่อนต่อกันและเชื่อมรอยต่อ … Read More
ความรู้ในเบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่องสำคัญเรื่องหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องและถือได้ว่ามีความสำคัญมากๆ เกี่ยวกับเรื่องวิศวกรรมงานฐานรากและงานดินนั่นก็คือ โครงสร้างป้องกันมิให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES นั่นเองนะครับ จุดประสงค์ของการก่อสร้างโครงสร้างป้องกันมิให้ดินพังนั้นก็ค่อนข้างที่จะตรงไปตรงมานั่นก็คือ … Read More
ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ วันนี้ผมจะมาเอาใจเพื่อนๆ ที่จะต้องไปสมัครงานและจำเป็นที่จะต้องพูดเป็นภาษาอังกฤษต่อเป็นโพสต์ที่ 3 ซึ่งจะเป็นโพสต์สุดท้ายแล้วนะครับ เริ่มจากประโยคแรกนั่นก็คือ หากคนสัมภาษณ์ต้องการที่จะถามเพื่อนๆ ในทำนองว่าเราจะมีความคาดหมายต่อการทำงานอย่างไรบ้าง โดยที่เค้าอาจจะถามเราว่า … Read More
ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ จะว่าไปแล้วหัวข้อในวันนี้ของผมจะมีส่วนที่เกี่ยวพันจากโพสต์ตั้งแต่ในปีที่แล้วที่ผมเคยได้อธิบายไปหลายๆ ครั้งว่า หากเราทำการออกแบบโครงสร้างฐานรากวางบนดินหรือ BEARING FOUNDATION ก็ดีหรือกำลังทำการออกแบบโครงสร้างเสาก็ดี จะมีหลายๆ ครั้งที่เราจะต้องทำการตรวจสอบดูว่า ภายในหน้าตัดโครงสร้างของเรานั้นจะเกิดแรงเค้นดึงหรือ TENSILE STRESS ขึ้นหรือเปล่า … Read More