คานแบบทางเดียวหรือ ONE WAY SLAB ON BEAM
แผ่นพื้นวางบนคานแบบทางเดียวหรือ ONE WAY SLAB ON BEAM สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ อย่างที่ผมได้แจ้งไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าหลังจากที่ผมได้แชร์ความรู้ในเรื่องหลักการหลักๆ ของเรื่อง แผ่นพื้นวางบนคานแบบทางเดียวหรือ ONE WAY SLAB … Read More
ความรู้ด้านงานออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานด้านวิศวกรรมโครงสร้าง ที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเชิญชวนเพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน ซึ่งคำถามในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่องความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไปนั่นเองนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นจะเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ผมเพิ่งจะทำการโพสต์ไปในสัปดาห์ที่ผ่านมานั่นก็คือเรื่อง การออกแบบเสายาว โดยที่ใจความของคำถามในวันนี้นั้นค่อนข้างที่จะง่ายมากๆ เลยนะครับ นั่นก็คือ หากผมมีขนาด ความยาว ของเสา ซึ่งมีขนาด หน้าตัด ของเสาดังรูปที่แสดง และ … Read More
เพื่อฐานรากอาคารใหม่ ที่ได้มาตรฐานสูง เลือกตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ I-Micropile เพื่อรับน้ำหนักโครงสร้างใหม่
เพื่อฐานรากอาคารใหม่ ที่ได้มาตรฐานสูง เลือกตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ I-Micropile เพื่อรับน้ำหนักโครงสร้างใหม่ การสร้างอาคารใหม่ ต้องเลือกเสาเข็มที่มีคุณภาพ เพื่อเพิ่มความสามารถในการรับน้ำหนักของฐานราก เพราะฐานรากเป็นตัวรับน้ำหนักโครงสร้างทั้งหมด และการตอกเสาเข็มจะต้องตอกให้ลึกถึงชั้นดินดาน ตามที่วิศวกรออกแบบ เพื่อให้การรับน้ำหนัก เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักวิศวกรรม หากตอกเสาเข็มสั้นเกินไป ไม่ถึงชั้นดินดาน จะทำให้ดินเกิดการทรุดตัวมากเกินไป และเป็นผลให้เสาเข็มทรุดตัวตามไปด้วย … Read More
ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายคำถามที่ว่า เพราะเหตุใดในการก่อสร้างโครงสร้างฐานรากของโครงสร้างประเภทรั้ว เราจึงมักที่จะเห็นวิศวกรนั้นทำการออกแบบให้ใช้เสาเข็มนั้นวางตัวเป็นแบบคู่ หรือ ไม่ก็เป็นแบบเสาเข็มเดี่ยวสลับกันระหว่างเสาเข็มคู่ ? ซึ่งหากทำการตั้งคำถามว่าเราสามารถที่จะใช้โครงสร้างเข็มเดี่ยวในการทำเสาเข็มรับรั้วได้หรือไม่ ผมก็ได้ตอบไปว่า ได้ นะครับ … Read More