บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง ความหนาน้อยที่สุดสำหรับแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ โดยที่ผมต้องขออธิบายก่อนนะครับว่าสาเหตุที่ข้อกำหนดในการออกแบบได้กำหนดให้เราต้องทำการคำนวณหาค่าความหนาน้อยที่สุดของทั้งแผ่นพื้นทางเดียวและแผ่นพื้นสองทางนั่นเป็นเพราะว่า … Read More

คอนกรีตทนน้ำเค็ม

เพราะเหตุใด?? เสาเข็มไมโครไพล์ ของภูมิสยามจึงจะต้องอาศัยกระบวนการในการหล่อคอนกรีตโดยการให้แรงเหวี่ยง หลักการพื้นฐานของการตอกเสาเข็มคือ การทำให้ “พลังงาน” หรือ “ENERGY” แก่โครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการ “ตอก” เสาเข็มลงไปในดิน ซึ่ง “ปริมาณ” ของพลังงานที่จะทำการใส่ลงไปในดินนั้นจะมีค่าที่ มาก หรือ น้อย ก็จะขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัย เช่น … Read More

คอนกรีตหดตัวต่ำ

คุณสมบัติ คอนกรีตประเภทนี้ถูกออกแบบส่วนผสมเพื่อลดการหดตัวของคอนกรีต โดยใช้วัสดุผสมเพิ่มเพื่อชดเชยการหดตัวของคอนกรีต ทำให้คอนกรีตในสภาวะที่ยังไม่แข็งตัวเกิดการขยายตัวไปก่อน ขั้นตอนการทำงาน คอนกรีตประเภทนี้ ถูกออกแบบส่วนผสมมาเพื่อใช้กับงานโครงสร้างที่ต้องการการหดตัวของคอนกรีตต่ำ เช่น งานคอนกรีตครอบหัวเสาเข็ม (Pile Cab Concrete) งานเทโครงสร้างถนน โครงสร้างพื้นในบริเวณกว้างๆ ข้อแนะนำ 1. หลีกเลี่ยงการผสมน้ำเพิ่มที่หน้างาน เพราะจะทำให้ส่วนผสมคอนกรีตเกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่งส่งผลให้คอนกรีตเกิดการแยกตัว ขณะเทคอนกรีต เกิดปัญหาคอนกรีตเป็นฝุ่นที่ผิวหน้า … Read More

ต้องการที่จะออกแบบให้เสาเข็ม สามารถรับแรงถอน (PULLOUT FORCE) ได้ มีวิธีในการออกแบบเสาเข็มอย่างไรบ้าง ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ เนื่องจากมีน้องวิศวกรท่านหนึ่งฝากคำถามเอาไว้หลังไมค์ว่า “หากผมต้องการที่จะออกแบบให้เสาเข็มนั้นสามารถที่จะรับแรงถอน (PULLOUT FORCE) ได้ ไม่ทราบว่าจะมีวิธีในการออกแบบเสาเข็มอย่างไรได้บ้างครับ ?” ด้วยความยินดีครับ พูดง่ายๆ … Read More

1 97 98 99 100 101 102 103 175